วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ห้องเรียนเสมือน

                                                   


                                                บทความการศึกษา


 ห้องเรียนเสมือน (Virtual

การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.htmlอ
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html




 ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom)


 
               ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หมายถึงการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ช่องทางของระบบการ สื่อสารและอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปเรียนใน เว็บไซต์ ที่ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนให้มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับเรียนในห้องเรียนแบบ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียน โดยมีบรรยากาศเสมือนพบกันจริง กระบวนการเรียนการสอนจึงไม่ใช่การเดินทางไปเรียนในห้องเรียนแต่เป็นการเข้า ถึงข้อมูลเนื้อหาของบทเรียนได้โดยผ่านคอมพิวเตอร์
 
ห้องเรียนเสมือนสามารถจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
            จัดการเรียนการสอนในห้องเรียนธรรมดา แต่มีการถ่ายทอดสดภาพและเสียงเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรียนโดยอาศัยระบบโทร คมนาคมและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งเรียกว่า Online ไปยังผู้เรียนที่อยู่นอกห้องเรียน นิสิตสามารถรับฟังและติดตามการสอนของผู้สอนได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตน เองอีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกับอาจารย์ผู้สอนหรือเพื่อนนิสิตที่อยู่คนละแห่ง ได้
            ห้องเรียนเสมือนเป็นการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่าย ที่อาศัยประสิทธิภาพของเทคโนโลยีการสื่อสสารและอินเทอร์เน็ต การเรียนการสอนจึงต้องมีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้ากับเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์การเรียนการสอนทำได้โดยผู้เรียนใช้คอมพิวเตอร์ เข้าสู่เว็บไซต์ ของห้องเรียนเสมือนและดำเนินการเรียนตามกิจกรรมที่ผู้สอนได้ออกแบบไว้ ห้องเรียนลักษณะนี้เรียกว่า ห้องเรียนเสมือนที่แท้ การเข้าสู่เว็บไซต์ห้องเรียนเสมือนนี้ ภาพที่ปรากฏเป็นหน้าแรก เรียกว่า โฮมเพจ ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นชื่อรายวิชาที่สอน ชื่อผู้สอน และข้อความสั้นๆต่างๆที่เป็นหัวข้อสำคัญในการเรียนการสอนเท่านั้น โฮมเพจนี้จะถูกออกแบบต่างๆให้มีความสวยงามด้วยภาพถ่าย ภาพกราฟิก ตัวอักษรและการให้สีสันเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ข้อความสั้นๆที่จัดเรียงอยู่ในหน้าโฮมเพจได้ถูกเชื่อมโยงไปสู่หน้าเว็บเพจ ซึ่งเป็นหัวข้อย่อยและเชื่อมโยงไปสู่เว็บเพจรายละเอียด ซึ่งเป็นข้อมูลการเรียนการสอนในแต่ละส่วนตามลำดับความสำคัญ โดยผู้เรียนเพียงคลิกเม้าท์เลือกเรียนในหัวข้อซึ่งเป็นเนื้อหาหรือกิจกรรม การเรียนการสอนที่ตนเองสนใจได้ตามต้องการ เช่น เว็บเพจประกาศข่าว เว็บเพจประมวลวิชา เว็บเพจเนื้อหา เว็บเพจแสดงความคิดเห็น เว็บเพจสรุปบทเรียน เว็บเพจตอบปัญหา เว็บเพจแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ เว็บเพจการประเมินผล และเว็บเพจอื่นๆตามที่ถูกออกแบบไว้
 
ข้อจำกัดของการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนมีหลายประการดังนี้
          1. อุปกรณ์และซอฟแวร์ในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน มีราคาแพง ดังนั้น การเรียนการสอนด้วยวิธีนี้จึงมีข้อจำกัดในกลุ่มนักเรียนและโรงเรียนหรือ สถาบันการศึกษาที่มีฐานะค่อนข้างดี 
          2. มีความล่าช้าในการรอข้อมูลย้อนกลับ การเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนมักจะเป็นการเรียนต่างเวลาตามความพร้อมของ ผู้เรียนและผู้สอน ดังนั้นนักเรียนจึงไม่สามารถได้รับคำตอบโดยทันทีเมื่อต้องการซักถามผู้สอน ซึ่งแตกต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียนแบบปกติที่สามารถโต้ตอบกันได้โดย ทันที
         3. ผู้เรียนต้องมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี มิฉะนั้นสิ่งเหล่านี้จะเป็นอุปสรรคสำคัญในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือ นปฎิสัมพันธ์ทางการเรียนไม่มีความเป็นธรรมชาติและมีน้อยเกินไป แม้ว่าการเรียนการสอนแบบห้องเรียน
        4. เสมือนจะมีช่องทางที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน อื่นๆได้ แต่มนุษย์ก็ยังต้องการ การติดต่อสื่อสารที่เห็นหน้า เห็นตา ท่าทาง และการแสดงออกในลักษณะต่างๆเพื่อให้เกิดความรู้สึก ความเข้าใจและความเชื่อมั่นทางความคิด ซึ่งการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนไม่สามารถตอบสนองข้อสงสัยหรือให้คำชี้ แนะโดยทันทีอย่างไม่มีอุปสรรค
       5. ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรับผิดชอบในการเรียนด้วยตนเองซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สำคัญในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน
           การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนนับเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ช่วย ลดข้อจำกัดในด้านต่างๆทางการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทำให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความพอใจ ตามความพร้อมทั้งทางด้านเวลา สถานที่และความสามารถทางสติปัญญา การเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนนี้ สามารถจัดได้ทั้งแบบการศึกษาในโรงเรียน นอกโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัยส่งผลให้คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต อย่างไรก็ตามยังมีสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดห้องเรียนเสมือนอยู่อีกมาก เช่น ระบบบริหารจัดการของห้องเรียนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรียน และสิ่งที่การเรียนในห้องเรียนเสมือนไม่มีก็คือ ปฏิสัมพันธ์ทางด้านสังคมระหว่างผู้เรียนด้วยกัน สิ่งเหล่านี้คือคำถามที่ต้องคิดว่าห้องเรียนเสมือนจะทำให้เกิดขึ้นได้อย่าง ไร
             แม้ว่าต้นทุนในการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจะสูงมาก แต่ถ้าหากมีการบริการจัดการจนมีประสิทธิภาพและเป็นที่แพร่หลายแล้ว ผลกำไรจะเกิดขึ้นกับสังคมและประเทศชาติในรูปของคนส่วนใหญ่ของประเทศได้รับ ความรู้ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาส่วนต่างๆของประเทศให้มีความเจริญก้าว หน้าต่อไปในอนาคต
 
ความคิดรวบยอด
            ห้องเรียนเสมือน เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมในความว่างเปล่า (space) โดยอาศัยศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เป็นการจัดประสบการณ์เสมือนจริงแก่ผู้เรียน นอกจากนั้นยังมีสิ่งสนับสนุน อื่นๆที่จะช่วยทำให้การมีปฏิสัมพันธ์แบบเผชิญหน้าที่บางโอกาสอาจจะเป็นไปไม่ ได้หรือเป็นไปได้ยากนั้นสามารถกระทำได้เสมือนบรรยากาศการพบกันจริงๆกระบวน การทั้งหมดดังที่กล่าวมานี้มิใช่เป็นการเดินทางไปโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย แต่จะเป็นการเข้าถึงทางด้านการพิมพ์การอ่านข้อความหรือข้อมูลผ่าน คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่มีซอฟแวร์เพื่อควบคุมการ สร้างบรรยากาศแบบห้องเรียนเสมือน การมีส่วนร่วมจะเป็นแบบภาวะต่างเวลา ซึ่งทำให้มีผู้เรียน ในระบบห้องเรียนเสมือนสามารถเชื่อมต่อเข้าไปศึกษาได้ทุกที่ทุกเวลา
 
ห้องเรียนเสมือน
            หมายถึง การจัดประสบการณ์เรียนรู้ในรูปแบบของ software โดยมีวัตถุประสงค์ ที่จะช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยสามารถเลือกเวลา และสถานที่ที่จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเองโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดห้องเรียน รวมถึงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเรียน รู้หรือไม่ นอกจากนั้นสิ่งที่เราเรียนในห้องเรียนเสมือนมีคือ การปฏิสัมพันธ์หรือสังคมระหว่างผู้เรียนด้วยกัน เป็นสิ่งที่ต้องคิดว่าห้องเรียนเสมือนจะทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร
 
เนื่องจากการเรียนการสอนแบบเดิมมีข้อจำกัด ดังนี้
          1. สถานที่จำกัดเฉพาะในห้องเรียน
          2. การเรียนรู้จำกัดเฉพาะกับครู ผู้เรียน และตำรา
          3. เวลาในการจัดการเรียนการสอน
          4. โอกาสในการเรียนการสอน สถานที่เรียนไม่เพียงพอผู้ประสงค์จะเรียน
          5. สัดส่วนของครูและนักเรียนไม่เหมาะสม
 
              เป้าหมายของห้องเรียนเสมือนเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลสามารถเข้าถึงและได้รับ การศึกษาหลังมัธยมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมายเหล่านี้สามารถเชื่อมโยงเข้ากับคำกล่าวที่ว่า “ถ้าคุณไม่ได้เข้าชั้นเรียนบางทีอาจจะทำให้คุณเรียนได้ไม่มาก” นอกจากนั้นเป้าหมายประการสำคัญ ทีสอดคล้องและเป็นปัจจัยของห้องเรียนเสมือนคือ การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative learning) เป้าหมายพัฒนาโอกาสของการเข้าถึงการศึกษาอาจจะพิจารณาแนวคิดกว้างๆที่เกี่ยว กับห้องเรียนเสมือนในประเด็นต่างๆต่อไปนี้
             1. ทำเลเป้าหมาย ผู้เรียนอาจจะเลือกเรียนรายวิชาใดๆจากผู้สอนคนใดคนหนึ่งทั่วโลกหากมีการเปิด โอกาสให้ลงทะเบียนเรียนได้โดยไม่มีขีดจำกัดในเรื่องพื้นที่
              2. เวลาที่ยืดหยุ่น ผู้เรียนอาจจะมีส่วนร่วมได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืนการได้ รับข้อมูลย้อนกลับจากผู้สอนและเพื่อนที่เรียนร่วมกันจะไม่มีข้อจำกัดเรื่อง เวลา
              3. ไม่มีการเดินทาง ผู้เรียนสามารถทำงานและศึกษาอยู่ที่บ้านได้อย่างสะดวกสบายซึ่งอาจจะเป็นข้อ ดีสำหรับผู้เรียนที่มีอุปสรรค อันเนื่องมาจากความพิการทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องเดินทางหรือแม้แต่ผู้เรียน ที่มีภาระด้านครอบครัว ปัจจัยประการนี้นับเป็นโอกาสที่ทำให้ทุกคนมีทางเลือกและความสะดวกสบาย
             4. ประหยัดเวลา ผู้เรียนที่จำเป็นต้องเดินทางไปสถานศึกษาถ้าเรียนจากห้องเรียนเสมือนจะประหยัดการเดินทาง
             5. ทำงานร่วมกัน ด้วยภาพทางเทคโนโลยี ทำให้ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้ง่ายดาย ในขณะที่การแลกเปลี่ยนข้อมูลในห้องเรียนปกติ กระทำได้ยาก ผู้เรียนในระบบห้องเรียนเสมือนจะสามารถอธิบายปัญหาร่วมกัน แลกเปลี่ยนโครงงานซึ่งกันและกันได้
            6. โอกาสการมีส่วนร่วม ด้วยระบบสื่อสารด้วยคอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง สามารถเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน ในการถามคำถาม การให้ข้อสังเกตและการทำกิจกรรมร่วมกัน
 
นอกจากจุดเด่นของห้องเรียนเสมือนที่กล่าวมาแล้วนั้นในทางกลับกัน ข้อจำกัดของห้องเรียนเสมือนอาทิเช่น
           1. แหล่งเรียนมีจำกัด ในปัจจุบันยังมีสถาบันที่เสนอรายวิชาแบบห้องเรียนเสมือนจำกัดมากทำให้ยังมี ข้อจำกัดเกี่ยวกับแหล่งที่จะเรียนในปัจจุบัน
           2. เครื่องมือที่จำเป็น ผู้เรียนจะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ และโมเด็มที่บ้าน หรือที่ทำงานพร้อมที่จะติดต่อเชื่อมเข้ากับโปรแกรมห้องเรียนเสมือน ดังนั้น การเรียนในระบบห้องเรียนเสมือน จึงดูคล้ายกับผู้เรียนจะต้องมีฐานะทางเศรษฐกิจดีพอสมควรหรือไม่ก็จะต้องทำ งานในองค์กรที่มีอุปกรณ์เหล่านี้ และพร้อมจะสนับสนุนให้เข้าเรียนได้
           3. การให้ข้อมูลย้อนกลับล่าช้า การสื่อสารในชั้นเรียนปกติ จะเป็นการสื่อสารแบบพบหน้า การถามคำถามจะได้รับคำตอบทันทีทันใดแต่ในสื่อที่มีการเรียนแบบภาวะต่างเวลา อาจจะต้องรอข้อมูลย้อนกลับ อาจจะเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน ยิ่งไปกว่านั้นบางครั้งผู้สอนอาจจะทำให้ข้อมูลย้อนกลับแบบเป็นกลุ่มแบบรวมๆ มิได้เฉพาะเจาะจง ให้กับผู้เรียนคนใดคนหนึ่งอย่างไรก็ตามการให้ข้อมูลย้อนกลับทันทีทันใด สำหรับห้องเรียนเสมือน สามารถกระทำได้ ถ้าผู้ที่ร่วมเรียนทุกคนติดต่อกันแบบอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์พร้อมๆกัน การพูดคุยการให้ข้อมูลย้อนกลับกันและกันจะต้องมีการเตรียมข้อความสำเร็จรูป จะทำให้การติดต่อระหว่างกันและกันภายในกลุ่มรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่โดยส่วนมากและการเรียนแบบห้องเรียนเสมือนมักจะนิยมใช้แบบภาวะต่างเวลา จึงทำให้คำตอบที่ได้รับล่าช้าออกไป
          4. ทักษะเอกสาร ผู้เรียนที่จะเรียนในระบบห้องเรียนเสมือน จะต้องมีทักษะในการอ่านและการเขียนเป็นอย่างดีเพราะผู้เรียนต้องใช้ทักษะใน การใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อการติดต่อสื่อสาร การใช้ซอฟต์แวร์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาขัดข้องจากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นได้
 
 
 
ที่มาข้อมูล : http://edu.chandra.ac.th
 

บบททเ้ะำ้บ[[[,pokopgjkeqบบบบการศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html
การศึกษาประชารัฐ FOCUS ที่พัฒนาครู โดย สมหมาย ปาริจฉัตต์ หลังการประชุมคณะทำงานร่วมรัฐ เอกชน ประชาชน (ประชารัฐ) ทั้ง 12 ชุด ล่าสุดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานติดตามความคืบหน้า รับฟังข้อเสนอและโครงการของแต่ละคณะทำงาน ต่อมาเมื่อวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2559 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี คณะทำงานด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คุณศุภชัย เจียรวนนท์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ หัวหน้าทีมภาคเอกชน จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการระยะที่ 1 ทั่วประเทศ 3,342 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกว่า 3,500 คน ก่อนหน้านี้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคประชาสังคม และภาคเอกชนกว่า 25 องค์กรชั้นนำระดับประเทศ ภาคเอกชนจะเข้าร่วมสนับสนุน 3 โครงการ คือ 1.โครงการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการศึกษา 10 ด้าน 2.โครงการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ CONNEXT Ed 3.โครงการมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศด้านงานวิจัย โรงเรียนที่จะได้รับการพัฒนาตามโครงการภายใต้การดูแลและให้ความช่วยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน นอกจากนี้จะมี School Sponsor ที่เป็นผู้บริหารระดับ CEO หรือ CEO-1 จะเข้าไปเรียนรู้กับผู้บริหารสถานศึกษาและร่วมพัฒนาโรงเรียน ภาคเอกชนจะสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนปีละ 500,000-1,000,000 บาท คาดว่าจะใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาทต่อปี จะมีการลงนาม MOU กับ 12 องค์กรที่จะเข้าร่วมโครงการภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนี้องค์กรเหล่านี้จะดูแลโรงเรียนทั้ง 18 ภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน 1 องค์กรจะดูแลสถานศึกษาใน 1-2 ภาค ส่วนกลไกเพื่อรองรับโครงการทั้งหมดมีการตั้งคณะทำงานกลุ่มย่อยลงไปอีก 5 คณะ 1.คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา 2.คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร ต้นแบบกระบวนการเรียนรู้ การประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม จิตสาธารณะ และด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3.คณะทำงานด้านพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.คณะทำงานด้านพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.คณะทำงานพัฒนาความเป็นเลิศในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเทคโนโลยีแห่งอนาคต และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมของผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ทุกคณะได้รับคำสั่งให้สนับสนุนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ตามคำสั่งมาตรา 44 ให้เต็มที่ ครับ ติดตามความเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปการศึกษารอบใหม่แล้ว เรียกว่า เดินหน้าเต็มสูบ ว่างั้นเถอะ ประชารัฐ หัวใจก็คือ การดึงภาคเอกชน ประชาสังคม มาร่วมรับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มากขึ้น หาผู้มาร่วมลงขันเพิ่มนั่นเอง หลังจากที่งานวิจัยพบว่า การจัดงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาของไทยสูงติดอันดับต้นๆ ของโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลับอยู่ อันดับท้ายๆ ประเด็นปัญหาจึงไม่ได้อยู่ที่ว่าขาดแคลนงบประมาณ ขาดการสนับสนุน แต่อยู่ที่การบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ โครงการไปในทิศทางและจุดที่ควรจะทุ่มเทลงไปก่อนหลังตามลำดับมีประสิทธิภาพ แค่ไหนต่างหาก ครั้งนี้ก็อีกเช่นกัน การเติมความช่วยเหลือ เติมงบประมาณลงไปตามโครงการขนาดใหญ่ยักษ์ ทั้งงบประมาณรัฐและภาคเอกชนเป็นจำนวนมาก ประเด็นจึงไม่ใช่แค่ระดมได้มากน้อยจำนวนเท่าไหร่ แต่หัวใจอยู่ที่ว่า จะสนับสนุนไปที่ไหน บริหารจัดการอย่างไร วิธีใช้งบประมาณที่เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่าสูงสุด ฉะนั้นต้องกลับมาสู่หลัก คิดใหญ่ ทำย่อย เห็นผลชัด เห็นผลเร็ว หากผิดพลาดเสียหายก็เสียหายน้อยสุด อยู่ในวงจำกัด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดศึกษา เริ่มตั้งแต่การจัดการระบบฐานข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยี ไอซีที ทักษะการสื่อสาร เครื่องมืออุปกรณ์ก็ดี แต่คานงัดสำคัญ หัวใจอยู่ที่คน ครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหาร ข้อเสนอของผมต่อแนวทางการดำเนินงานของโครงการประชารัฐด้านการศึกษา ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาครูให้หนัก เป็นหลักก่อน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ครู ครูปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอน จากที่เคยสั่งและสอนเป็นหลัก มาร่วมเรียนรู้ไปกับนักเรียน จากที่เคยใช้อำนาจเป็นหลัก มาใช้ความรักเป็นฐาน ที่ผ่านมามีกระบวนการดีๆ ที่เห็นผลมาแล้วหลายรูปแบบ ซึ่งลึกซึ้งและเกิดผลที่ตัวครูจริงๆ ยิ่งกว่าโครงการคืนครูสู่ห้องเรียน ครูครบชั้น ครูตรงสาขา ครูคืนถิ่น อบรมครูออนไลน์ที่กำลังทำอยู่ขณะนี้เพราะยังวนเวียนอยู่กับครูคนเก่า ขณะที่ความจำเป็นของยุคสมัยคือทำให้ครูคนเก่าเป็นครูคนใหม่ที่มีจิตวิญญาณ ครูเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ครับ ที่มา มติชนออนไลน์ วันที่ 5 พฤษภาคม 2559
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/article-78761-การศึกษาประชารัฐ-FOCUS-ที่พัฒนาครู.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น